บาคาร่ามือถือ สมัครสมาชิกบาคาร่าออนไลน์มีทีมงานดูแลตลอด 24 ชม.

บาคาร่ามือถือ สมัครสมาชิก ทีมงานดูแลตลอด 24 ชม

 เด็ก อาหารอันตรายต่อฟัน

อาหารดีต่อใจ อันตรายต่อฟัน

อาหารและเครื่องดื่มที่เป็นอันตรายต่อฟัน รู้หรือไม่ อาหารและเครื่องดื่มบางอย่างเป็นอันตรายต่อฟันของเรา มีอะไรบ้างนะ…ซิตรัส

เด็ก การทานผลไม้ตระกูลรสเปรี้ยว เช่น เลมอน มะนาว ส้ม เกรปฟรุต ความเป็นกรดของอาหารจะทำให้ฟลูออไรด์เคลือบฟันของเราอ่อนลง และสามารถทำลายเนื้อฟันของเราได้กาแฟ เครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ จะทำปฏิกิริยาบนเนื้อฟันและทำให้ฟันกลายเป็นสีเหลืองน้ำแข็ง การเคี้ยวน้ำแข็งจะทำให้ฟันบิ่นแตก หัก หรืออาจฟันหลุดได้
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์จะมีน้ำตาลผสมอยู่มาก ทำให้เกิดการสะสมแบคทีเรียในช่องปาก และทำให้เกิดฟันผุข้าวโพด การแทะข้าวโพดแบบฝักอาจส่งผลให้ฟันบิ่นหรือเสียรูปได้ หากเศษข้าวโพดเข้าไปติดในซอกฟันเป็นเวลานาน อาจทำให้เกิดโรคเหงือกอักเสบในระยะเวลาต่อมา

 เด็ก อาหารอันตรายต่อฟัน

น้ำอัดลม ทำให้ฟันสึกกร่อน เพราะถูกสารที่เป็นกรดในเครื่องดื่มกัดกร่อน เป็นสาเหตุให้ฟันไม่แข็งแรง อาจทำให้ฟันบางลง หรือขอบฟันแตกกะเทาะได้ช็อกโกแลต การทานช็อกโกแลตแช่แข็งทำร้ายฟันและกล้ามเนื้อบริเวณกราม และทำให้เหงือกได้รับผลกระทบจากแรงกดตามไปด้วยขนมเค้ก ขนมหวานที่มีส่วนผสมของน้ำตาลซึ่งเป็นภัยต่อเหงือกและฟัน และยังเป็นตัวการหนึ่งที่ทำให้น้ำหนักของเราเพิ่มขึ้นอีกด้วยลูกอม ลูกอมมีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งจะเข้าไปเกาะติดที่บริเวณผิวฟัน ส่งผลเสียต่อผิวฟัน นอกจากจะทำให้ฟันผุแล้วยังอาจทำให้ร่างกายได้รับน้ำตาลมากเกินไปด้วยเพื่อสุขภาพฟันที่ดี ควรบ้วนปากด้วยน้ำสะอาดทันทีหลังจากแปรงฟัน และควรแปรงฟันหลังจากอาหารไปแล้ว ประมาณ 30 นาที ที่สำคัญอย่าลืมพบทันตแพทย์ทุก ๆ 6 เดือน เพื่อตรวจหาความผิดปกติต่าง ๆ เพื่อให้ฟันของคุณมีสุขภาพแข็งแรงไปนาน ๆ

อ่านข่าวเพิ่มเติม : เช็คอารมณ์เด็ก

เด็ก

เช็คอารมณ์เด็ก ป้องกัน ‘โรคซึมเศร้า’ ในโรงเรียน

เช็คอารมณ์เด็ก ป้องกัน ‘โรคซึมเศร้า’ ในโรงเรียน

เด็ก

ในงาน “มหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 12 หรือ EDUCA 2019” ภายใต้แนวคิด “พลังของชุมชนแห่งการเรียนรู้” จัดโดยบริษัท ปิโก(ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ได้มีการหยิบยกประเด็น “โรคซึมเศร้า..ในโรงเรียน” เพื่อส่งต่อความรู้ไปยังเหล่าคุณครู ป้องกันโรคซึมเศร้าที่จะเกิดขึ้นในโรงเรียน นพ.พนม เกตุมาน ประธานชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย วิทยากรที่มาให้ความรู้แก่เหล่าคุณครูเพื่อเรียนรู้ ทำความเข้าใจโรคซึมเศร้า อันนำไปสู่การป้องกัน และแนวทางแก้ปัญหาเมื่อพบเด็ก เยาวชนมีภาวะโรคซึมเศร้า ว่าภาวะโรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงเด็กโต แต่เด็กเล็กอาการไม่ชัดเจน

ดังนั้น จึงไม่ได้เห็นภาพว่าเด็กเล็กเป็นโรคซึมเศร้า แต่จริงๆ แล้วเด็กทุกคนสามารถเป็นโรคนี้ได้ โดยอาการของโรคซึมเศร้า ต้องสังเกตจากพฤติกรรมของเด็กในการแสดงออก ซึ่งเหมือนกับภูเขาน้ำแข็งที่เบื้องล่างเกิดจากระบบความคิด ความรู้สึก เด็กที่มีประสบการณ์ไม่ดี อยู่ในครอบครัวที่มีปัญหา เป็นการสะสมเรื่อยๆ จนกระทั่งแสดงออกมาตอนใดตอนหนึ่งโดยเกิดจากสภาพแวดล้อมเป็นตัวกระตุ้น ปัจจุบันเจอเด็กวัยรุ่นมีอาการโรคซึมเศร้าจนทำให้เกิดการอยากตาย และฆ่าตัวตายมากขึ้น โดยคนที่เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความรู้สึกต่อสิ่งแวดล้อมไม่เหมือนเดิม มองทุกอย่างแง่ลบ รู้สึกแย่ หดหู่ ท้อแท้ มองทางออกของสิ่งที่พบไม่เจอ และไม่อยากอยู่บนโลกใบนี้ ซึ่งโรคซึมเศร้ามีโอกาสเสี่ยงที่อยากฆ่าตัวตายอยู่เสมอ เพราะมีอาการสวิงของอารมณ์ตลอดเวลา จนดูไม่ออกว่าจะดิ่งเมื่อใด